สมาพันธ์แพทย์แผนไทยแห่งประเทศไทย (สมพท.)
403 ซอย 7 ถ.เทศบาลนิมิตใต้ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900.
tel. 0-2589-4243  Fax. 0-2591-8092 E-mail : ftmat2560@gmail.com

แสดงที่มา-ไม่ใช่เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย

       

เส้นจันทภูสังและเส้นรุชำ

                                                           แผนรูปหงาย

                             ด้านขวา                                                       ด้านซ้าย
                    
                    ๑) แก้ลมให้โสตตึง                                            ๘) แก้ลมให้โสตหนัก
                    ๒) แก้ปวดลมในโสต                                          ๙) แก้ลมให้ปวดในโสต
                    ๓) แก้ลมฮึงในโสต                                          ๑๐) แก้ลมโสตดั่งมะมี่
                   ๔) แก้ลมดันในโสต                                          ๑๑) แก้ลมออกโสตให้คัน
                   ๕) แก้ลมนอนมิหลับ                                         ๑๒) แก้ลมให้นอนมิหลับ
                   ๖) แก้ลมให้บริโภคอาหารไม่มีรศ                           ๑๓) แก้ลมให้เบื่ออาหารยิ่งนักหารศมิได้
                  ๗) แก้ลมให้เมื่อยให้เสียวจำหระเบื้องขวา                 ๑๔) แก้ลมให้เมื่อยขบจำหระเบื้องซ้าย




















ตอนที่ 8
เส้นประธานสิบแต่ละเส้นที่สัมพันธ์กับอาการต่างๆ








                                                                  










  
2016-2017 Your Web Site Corporation. All rights reserved.

ขอบคุณภาพและข้อมูลจากหนังสือการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยเส้นสิบ
พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อกันยายน 2555
( ติดตามในตอนที่ 9 )
                                              แผนรูปคว่ำ

                         ด้านขวา                                                      ด้านซ้าย

          ๑) แก้ลมให้โสตตึง                               ๘) แก้ลมให้โสตหนัก
          ๒) แก้ปวดลมในโสต                             ๙) แก้ลมให้ปวดในโสต
          ๓) แก้ลมฮึงในโสต                              ๑๐) แก้ลมฮึงในโสต
         ๔) แก้ลมดันในโสต                              ๑๑) แก้ลมดันในโสต
         ๕) แก้ลมนอนมิหลับ                             ๑๒) แก้ลมให้นอนมิหลับ
         ๖) แก้ลมให้บริโภคอาหารไม่มีรศ               ๑๓) แก้ลมให้คอแห้งหาน้ำเขละมิได้
        ๗) แก้ลมให้เมื่อยจำหระเบื้องซ้าย              ๑๔) แก้ลมให้เมื่อยจำหระเบื้องขวา